ฉนวนกันเสียง
"ฉนวนกันเสียง: การลดเสียงที่ติดตั้งบนผนังและเพดาน"

Insulation Pins (หนามเตย)
การติดตั้ง - แบบมาตรฐาน
1. Insulation Pins (หนามเตย)
-
หมุดยึดฉนวน
-
ความหนาของฉนวนกันเสียงที่แนะนำไม่ควรเกิน 75 มม. และความหนาแน่นไม่ควรเกิน 60 กก./ลบ.ม.
-
ติดตั้งหมุดยึดฉนวนในตำแหน่งที่กำหนด
-
การติดตั้ง - แบบมาตรฐาน
2. ฉนวนกันเสียง
-
ฉนวนกันเสียง
-
ความหนาของฉนวนกันเสียงที่แนะนำไม่ควรเกิน 75 มม. และความหนาแน่นไม่ควรเกิน 60 กก./ลบ.ม.
-
ติดตั้งฉนวนกันเสียงให้ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด
-
ฉนวนกันเสียง


แหวนรองโดม
การติดตั้ง - แบบมาตรฐาน
3. แหวนรองโดม
-
แหวนรองโดม (Dome Washer)
-
ความหนาของฉนวนกันเสียงที่แนะนำไม่ควรเกิน 75 มม. และความหนาแน่นไม่ควรเกิน 60 กก./ลบ.ม.
-
ติดตั้งแหวนรองโดมเข้ากับหมุดยึดฉนวนให้แน่นหนา
-
การติดตั้ง - แบบพิเศษ
1. รางรองรับ
ขั้นตอนที่ 1: รางรองรับ (Support Tracks)
-
หากฉนวนกันเสียงมีความหนา 100 มม. และความหนาแน่น 80 กก./ลบ.ม. จะไม่สามารถติดตั้งด้วยวิธีมาตรฐานได้
-
แนะนำให้ติดตั้งตามวิธีที่แสดงในภาพประกอบ
-
ติดตั้งรางรองรับในตำแหน่งที่กำหนด







การติดตั้ง - แบบพิเศษ
2. ติดตั้งฉนวนกันเสียงบนรางรองรับ
ขั้นตอนที่ 2: การติดตั้งฉนวนกันเสียง
-
ติดตั้งฉนวนกันเสียงลงบนรางรองรับที่ติดตั้งไว้ก่อนหน้านี้
การติดตั้ง - แบบพิเศษ
3. การปิดคลุมด้วยตาข่ายลวด
ขั้นตอนที่ 3: การปิดคลุมด้วยตาข่ายลวด
-
ขั้นตอนสุดท้ายคือการปิดคลุมด้วยตาข่ายลวด เพื่อป้องกันไม่ให้ฉนวนกันเสียงหลุดออกมา








การติดตั้ง - แบบพิเศษ
ห้องเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเก็บเสียง
-
ห้องเก็บเสียงสำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าออกแบบมาเพื่อช่วยลดเสียงรบกวนจากเครื่องยนต์หรือคอมเพรสเซอร์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและผู้คนโดยรอบ เราได้พัฒนา ฉนวนกันเสียงแบบพิเศษ
-
โดยใช้วัสดุคุณภาพสูง เช่น ฉนวนความร้อน Rock Wool เพื่อช่วยดูดซับเสียง และเสริมความแข็งแรงด้วย แผ่นอะลูมิเนียมแบบมีรูพรุน พร้อม ผ้า Fiberglass ที่มีคุณสมบติไม่ติดไฟ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการลดเสียงให้ดียิ่งขึ้น
-
โซลูชันของเราช่วยให้การทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเป็นไปอย่างเงียบสงบ ลดการรบกวน และเพิ่มความปลอดภัยให้กับพื้นที่ของคุณ